Jannah Theme License is not validated, Go to the theme options page to validate the license, You need a single license for each domain name.

การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6

กระดานสนทนา เผยแพร่ผลงานวิชาการหมวดหมู่: เผยแพร่ผลงานวิชาการการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6

การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6 มีความมุ่งหมายเพื่อ 1)  พัฒนา         ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6 ก่อนและหลังเรียน  3) หาค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6 และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนเทศบาล 2 “เชิงชุมอนุชนวิทยา” สังกัดเทศบาลนครสกลนคร  จังหวัดสกลนคร                  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวนนักเรียน 32 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)  เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย คู่มือการใช้ชุดกิจกรรมสำหรับครู และชุดกิจกรรมสำหรับนักเรียน จำนวน 5 ชุด และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ระยะเวลาที่ใช้เวลาในการทดลอง จำนวน 13 ชั่วโมง ไม่รวมเวลาทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมุติฐานใช้ t-test (Dependent Samples)             ผลการวิจัย พบว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 84.07/86.54 นักเรียนทีเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  มีค่าเท่ากับ 0.66 หมายความว่า ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 66 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ผสานการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) หน่วยที่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร อยู่ในระดับมาก (= 4.49, S.D. = 0.68)

Powered by GliaStudio
ชุดข้าราชการ ชุดข้าราชการหญิง ชุดกากี ชุดข้าราชการ shopee
Back to top button