ค้นหาข้อมูลจาก Google

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเน้นให้                     ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และ                        นำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

กระดานสนทนา เผยแพร่ผลงานวิชาการหมวดหมู่: เผยแพร่ผลงานวิชาการการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเน้นให้                     ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และ                        นำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชื่อเรื่อง               การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเน้นให้                     ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และ                        นำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้วิจัย                 นางสาววันทนีย์ ศรีจวง
ตำแหน่ง             ครูชำนาญการพิเศษ
ปีการศึกษา           2565
 
บทคัดย่อ
 
        การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้วิจัยกำหนดวัตถุประสงค์ไว้ 4 ข้อ คือ 1. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการที่จำเป็นในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2. ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80  3. ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 4. ผลการประเมินและปรับปรุงการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ที่ 6/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565โรงเรียนโคกก่อพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม  จำนวน 30 คน  ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Claster Random Sampling ) จากจำนวน 2 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 43 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเป็นแบบทดสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 20 ข้อ ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
 
          ผลการวิจัย

  1. 1. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยสังเคราะห์เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการสังเคราะห์ทำให้ได้รูปแบบมีองค์ประกอบการสอน 5 ขั้นตอน ซึ่งประกอบด้วย ขั้นการทบทวนความรู้เดิมโดยใช้ปัญหา 2. ขั้นการศึกษาหาความรู้ 3. ขั้นการสกัดองค์ความรู้ที่ได้ 4. ขั้นการสรุปและประเมินความรู้ที่ได้ และ 5. ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้และสร้างองค์ความรู้ ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบอยู่ในระดับมาก
  2. 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สร้างขึ้นมีค่าประสิทธิภาพ 77/83.44
  3. ผลการทดลองใช้การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มทดลองศึกษาพร้อมกับเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
  4.        ผลการหาคุณภาพและปรับปรุงรูปแบบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเผชิญสถานการณ์ปัญหา และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ เรื่อง การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีความเหมาะสมกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.63, = 0.48) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อเรียงจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ นักเรียนชอบการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน ๆ
    ( = 4.90, = 0.30) นักเรียนพึงพอใจวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองและการประเมินผลโดยครู ( = 4.81, = 0.40) และนักเรียนพึงพอใจการประยุกต์สิ่งที่สอนเข้ากับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม ( = 4.40, = 0.50) มีค่าน้อยที่สุด

 
 

Back to top button