การพัฒนารูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระดานสนทนา เผยแพร่ผลงานวิชาการหมวดหมู่: เผยแพร่ผลงานวิชาการการพัฒนารูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรณู บุบผะเรณู asked 6 เดือน ago

ผู้วิจัย   :           นางเรณู  บุผะเรณู   ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์  วิทยฐานะ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ   สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองปัตตานี   ปีที่วิจัย  :  2564   บทคัดย่อ     การวิจัยในครั้งนี้เป็นการพัฒนารูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสอดคลองเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี มีวัตถุประสงค เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปจจุบัน และความตองการทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสอดคลองเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี 2) พัฒนารูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสอดคลองเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี 3) ทดลองใชรูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสอดคลองเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี และ 4) ศึกษาความพึงพอใจในการใชรูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกที่มีความสอดคลองเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี กลุมผู้ใหขอมูล  ประกอบด้วย ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก จากสถานศึกษา 5 แหง จากโรงเรียนในสังกัด เทศบาลเมืองปัตตานี ทำการวิเคราะห์ขอมูลจากการสังเคราะห์เอกสารการสัมภาษณ และโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการวิเคราะห์ทางสถิติ ค่าเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบวา 1) สภาพปจจุบันปญหาที่ทำใหนักเรียนมีผลการทดสอบ ระดับชาติต่ำกว่า รอยละ 50 มี 4 ด้าน คือ ด้านสถานศึกษา ดานครู ด้านการเรียน และดานการจัดการศึกษาของโรงเรียน และความตองการทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลสำหรับโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี คือ ตองการแนวทางหรือรูปแบบการนิเทศเพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ ที่นำไปสู่การนิเทศใหสอดคลองกับบริบทเชิงพื้นที่โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี  2) ได้รูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการ บริหารการจัดการศึกษา ที่มีความสอดคลองเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ของโรงเรียนในสังกัด PIDRE + I Coaching Model เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี ประกอบดวย (1) การวิเคราะห์สภาพปจจุบันและวางแผนพัฒนา (Analyze to Plan : P) (2) การให้ความรู้ในสิ่งที่จะทำ (Information : I) (3) การปฏิบัติงาน (Doing : D) (4) การสร้างขวัญและกำลังใจ (Reinforcing : A) แล ะ (5) การประเมินผลของการดำเนินงาน (Evaluation : E) 3) ผลที่เกิดจากการใชรูปแบบ ได้แก (1) ครูมีการปรับเปลี่ยนการจัดกระบวนการเรียนการสอน มีการสราง/ใชเครื่องมือวัดและประเมินผลตามมาตรฐานและตัวชี้วัด      มีชุมชนทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อพัฒนานวัตกรรม ผูบริหารและครูนำความรู/หลักการไปใชในการยกระดับผลการทดสอบ O-NET (2) นักเรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(O-NET/NT) ดีขึ้น มีความพึงพอใจตอกระบวนการจัดเรียนรู ครูผูสอน สื่อการเรียนการสอน และคุณภาพการเรียนรู (3) สถานศึกษามีสารสนเทศผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติสูงขึ้น มีแผนยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ สถานศึกษามีเครือขายในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพผูเรียน   4) ความพึงพอใจตอการใชรูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสอดคลองเหมาะสมตามบริบทพื้นที่ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี อยูในระดับมากทุกขอ

คลิกให้คะแนนโพสต์นี้!
[รวม: 0 เฉลี่ย: % เฉลี่ย%]

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่